วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Lacture 24-02-54

Lacture 24/02/54
อาจารย์แนะแนวข้อสอบ
1.           การเขียนบรรณานุกรมของหนังสือ
-                  หนังสือ
-                  วารสาร
-                  อินเทอร์เน็ต
2.           อธิบาย 4 หัวข้อย่อย
3.           มี 2 ข้อย่อย
สมมติสถานการณ์ขึ้นมา
4.           การประเมินหัวข้อเว็บไซด์ อะไรที่น่าเชื่อถือมากที่สุด เรียงลำดับ
5.           Maid Mapping เกี่ยวกับที่เรียนมา เขียนคำกระชับชัดเจน
สอบออนไลน์  Past หลัง
ทบทวนเนื้อหาเรื่องที่จะสอบปลายภาค

วันพุธที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

lecher 10/2/54

Lecture
การอ้างอิง
-          หลักการลงรายการส่วนต่างๆของบรรณานุกรม
-          รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมทรัพยากรประเภทต่างๆ
ทำไมต้องอ้างอิง
-          เพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ในงานของผู้อื่น
-          เพื่อบอกที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้
-          เพื่อป้องกันการกระทำอันอาจเป็นการโจรกรรมทางวิชาการ
-          เพื่อแสดงความน่าเชื่อถือ
-          เพื่อแสดงมารยาทในการทำงานทางวิชาการ
การลงชื่อผู้แต่งให้ตัดคำนำหน้าชื่อออก และใส่แต่ชื่อกับนามสกุล
การเขียนบรรณานุกรม เวลาลงชื่อของชาวต่างชาติให้เอานามสกุลขึ้นก่อนและตามด้วยชื่อ
  เช่น Holzman, R (ชื่อของชาวต่างชาติ)
         Panyarachun, A (คนไทย)
ผู้แต่งที่ไม่ใช่เป็นนิติบุคคล ให้เขียนเป็นตัวใหญ่หมด ยกเว้นคำเชื่อมให้เขียนเป็นตัวพิมพ์เล็ก
และในกรณีที่มีผู้แต่ง 2-5 คน ให้เขียนชื่อทั้ง 5 คน โดยใช้เครื่องหมายจุลภาคขั้น แต่คนสุดท้ายไม่ต้องมีจุลภาคขั้น
และในกรณีที่มีผู้แต่ง 6 คน หรือมากกว่า ให้ใส่ชื่อคนแรก และตามด้วยคำว่า และคณะ  หรือ ed al.
(1)      Edition (ครั้งที่พิมพ์)  การลงรายการบรรณานุกรม : การพิมพ์
ระบุการปรับปรุง (revised)
หรือการแก้ไขเพิ่มเติม (enlarged) ก็ให้ใส่ด้วย
(2)      สถานที่พิมพ์ ใส่ชื่อเมือง หรือชื่อจังหวัด
กรณีที่ไม่ปรากฏชื่อ สถานที่พิมพ์ให้ใส่ (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.)
(3)      สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์
คำที่เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสำนักพิมพ์สำหรับภาษาไทยตัดคำว่า บริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัดและจำกัดออก ภาษาอังกฤษตัดคำว่า Limited (Ltd.), Incorporated (Inc.) ออก
(4)      ปีที่พิมพ์ ให้ใส่เลขระบุปี พ.ศ. หรือ ค.ศ. ที่พิมพ์ไว้ในเครื่องหมาย ( ) ต่อจากชื่อผู้แต่ง
กรณีที่ไม่มีปีพิมพ์ให้ใส่ (ม.ป.ป.) หรือ ( n.d.)
ข้อมูลเกี่ยวกับการพิมพ์ของวาร แตกต่างจากหนังสือทั่วไปตรงที่มี ปีที่ (ฉบับที่),เลขหน้า                  

วันพุธที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2554

lecher27/01/54

Lecture
1.           Google Docs (Documents)
-                  Sign up free โดยใช้ E-mail
-                  ตั้งค่ามุมมองแบบ Compact view
-                  ตั้งค่าหน้ากระดาษเป็นแนวนอน
2.           ใช้วิธีวิกิพีเดีย และ วงล้อมหัศจรรย์ใน Google เป็นแนวทางในการกำหนดขอบเขตเนื้อหา

วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554

งานสาระนิเทศ

http://www.mediafire.com/?bzzcafz817itw5z

Lecture Note เรื่องการใช้ฐานข้อมูล 20/01/54

สารนิเทศอิเล็กทรอนิกส์ : - แบบมีค่าใช้จ่าย (ฐานข้อมูล)
-                   ฟรี (อินเทอร์เน็ต)
-                   e-book,e-journal : .doc,.txt,pdf (ป้องกันการเข้าใช้งานแก้ไขงานเราได้),html,epub
Full text –หน้าเต็ม
Abstruct- เรื่องย่อ
Citation- บรรณานุกรม
ฐานข้อมูล
Lexis Nexis = ให้ข้อมูลทางกฎหมาย รวมถึงสิทธิบัตรต่างๆ ให้ข้อมูลบริษัท , ข้อมูลรายงานการเมืองเศรษฐกิจ
ISI Web of knowledge = ฐานข้อมูลอ้างอิง
ProQuest =  เหมาะสำหรับงานวิจัยสำหรับปริญาโท และ ปริญญาเอกทั่วโลก มี Preview รายการละ 24 หน้าแรกฟรี
IEEE (ไอ ทิปเปิล อี) = เอกสารฉบับเต็มทางด้านสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาการคอมพิวเตอร์
Wilson Web =  ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ให้ข้อมูล บรรณานุกรม สาระสังเขปและเอกสารฉบับเต็ม
Science Direct =  เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โดยตรง มี Full text ให้ด้วย ให้ข้อมูลเป็นบทความทางวารสาร
CHE = ให้ข้อมูลวิยานิพนธ์ทั้งเล่ม ข้อเสียคือ มหาวิยาลัยในต่างประเทศให้ใช้จำนวน 3,850 เล่มเท่านั้น
SpringerLink = หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
NetLibrary = ข้อเสียคือ แสดงแหน้าเดียว และ ป้องกันการละเมิดได้ยาก
ACM  PORTAL = ให้บทความวารสารทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี