วันพุธที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2554

lecher27/01/54

Lecture
1.           Google Docs (Documents)
-                  Sign up free โดยใช้ E-mail
-                  ตั้งค่ามุมมองแบบ Compact view
-                  ตั้งค่าหน้ากระดาษเป็นแนวนอน
2.           ใช้วิธีวิกิพีเดีย และ วงล้อมหัศจรรย์ใน Google เป็นแนวทางในการกำหนดขอบเขตเนื้อหา

วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554

งานสาระนิเทศ

http://www.mediafire.com/?bzzcafz817itw5z

Lecture Note เรื่องการใช้ฐานข้อมูล 20/01/54

สารนิเทศอิเล็กทรอนิกส์ : - แบบมีค่าใช้จ่าย (ฐานข้อมูล)
-                   ฟรี (อินเทอร์เน็ต)
-                   e-book,e-journal : .doc,.txt,pdf (ป้องกันการเข้าใช้งานแก้ไขงานเราได้),html,epub
Full text –หน้าเต็ม
Abstruct- เรื่องย่อ
Citation- บรรณานุกรม
ฐานข้อมูล
Lexis Nexis = ให้ข้อมูลทางกฎหมาย รวมถึงสิทธิบัตรต่างๆ ให้ข้อมูลบริษัท , ข้อมูลรายงานการเมืองเศรษฐกิจ
ISI Web of knowledge = ฐานข้อมูลอ้างอิง
ProQuest =  เหมาะสำหรับงานวิจัยสำหรับปริญาโท และ ปริญญาเอกทั่วโลก มี Preview รายการละ 24 หน้าแรกฟรี
IEEE (ไอ ทิปเปิล อี) = เอกสารฉบับเต็มทางด้านสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาการคอมพิวเตอร์
Wilson Web =  ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ให้ข้อมูล บรรณานุกรม สาระสังเขปและเอกสารฉบับเต็ม
Science Direct =  เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โดยตรง มี Full text ให้ด้วย ให้ข้อมูลเป็นบทความทางวารสาร
CHE = ให้ข้อมูลวิยานิพนธ์ทั้งเล่ม ข้อเสียคือ มหาวิยาลัยในต่างประเทศให้ใช้จำนวน 3,850 เล่มเท่านั้น
SpringerLink = หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
NetLibrary = ข้อเสียคือ แสดงแหน้าเดียว และ ป้องกันการละเมิดได้ยาก
ACM  PORTAL = ให้บทความวารสารทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี